วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Week5

การเรียนในWeekนี้ จะเป็นการเรียนดารใช้ ประโยคเงื่อนไข
จะเป็นการกำหนดการกระทำต่างโดยใช้พวก
>, <, ==, >=, <=, !=
เป็นตัวกำหนด ประโยคเงื่อนไข ในความเป็นจริงทั่วไปแล้ว
เมื่อมีสิ่งเร้าอะไรสักอย่าง จึงทำให้เราต้องเลือกเดินไป
ทางใดทางหนึ่งเช่น
คะแนนของคณะวิศวะสูงมากๆ (สมมุติว่า 90 I พวก เทพมาจุติ )
เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เราไม่เลือกอาชีนี้ก็ได้
ในตรงกันข้ามถ้าคณะวิทยกีฬาคะแนนแค่ 30
(ตำติดดินเลยวะ-*-) ก็มีหลายต่อหลายคนเลือกอาชีพ
นี้พอสมควรเลย เครื่องหมายในภาษา Javaเครื่องหมายที่
ใช้กับประโยคเงื่อนไขใน Java ทั้งหมด มี
< น้อยกว่า
> มากกว่า
== เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
เช่นเดียวกัน
กับภาษาคอมพิวเตอร์ก็มีคำสั่งในการตัดสินใจเหมือนมนุษย์โดย
คำสั่งของคอมพิวเตอร์นั้นจะใช้คำสั่ง if แล้วตามด้วยข้อมูล
เช่น
if (a)
System.out.print("555+");
ก็หมายความว่าถ้าข้อมูล a เป็นจริง จาขึ้นคำว่า555+ เป็นต้น
เมื่อเราอยากให้โปรแกรม Run ได้หลายคำสั่ง ให้เราใส่วงเล็บ

ปีกกา({})หลังสิ้นสุดคำสั่ง if อีกที
เช่น
if (a) {System.out.println("x");
System.out.println("y");
System.out.println("z");
}
เป็นต้น

โปรแกรมก็จะ Run คำสั่ง x y และ z
ในทางตรงข้าม เมื่อมันไม่ใช่คำสั่ง a
โปรแกรมจะไม่ Run อะไรเลย
ยกเว้นว่าเราจะเพิ่มคำสั่ง else ไปอีกตัว
จะทำให้เพิ่มคำสั่งที่ไม่เป็นจริงขึ้นมาอีกตัวเช่น
if (a) {
System.out.println("x");

System.out.println("y");
System.out.println("z");}
else
System.out.println("Error code in system win900");
เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว
เมื่อเรา Run โปรแกรมด้วยคำสั่ง a แล้ว โปรแกรมจำพิมพ์ x y z ขึ้น
แต่ถ้าไม่ใช่คำสั่ง a เครื่องแสดง Error code in system win900 ขึ้นมาทันที
เขาใจนา-*-