วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

week1(C)

ภาษาC
วันนีผมได้เรียนรู้คำสั่งจากCโดยภาษานี้เป็นราก ของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมคอม
ไม่ว่า C+,C++,JAVA,Etc.โดยวันนีผมได้เรียนกับโครงสร้างต่างๆครับ
โดยเรียนคำสังprintf();
มันเป็นคำสังที่จะแสดงอักษรต่างๆครับ
โดยเขียนชื่อ,ห้องและเลขที่ครับ
โดยเขียนแบบง่ายๆครับตามนี้เลยครับ
#include
main(){
clrscr();
printf("My name is Patchara\n";
printf("My romm is 6/4\n");
printf("My number is 15") ;
return 0;


}
ไม่ยากอย่างที่คิดเลยใช่ปะ!!!

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550

WeeK8

มาถึงโค้งสุดท้ายจนได้นะครับน่าเสียดายจัง(ดีใจโคตรๆเลย)
จะได้ไม่ต้องทำอะไรกับJavaอีกแล้ว555+
เหมือนระยะทางทดสอบม้าเวลาทดสอบคน
ผมคงต้องเป็นม้าเลวแน่เลยครับ555+(วันนี้ผมคึก)
เข้าเรื่องกันดีกว่าครับ
วันนี้เราจะมาทำความรู้จักคุณ!!!มายชาย
วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับพวกStringคราบ
Stringชื่อนี้คืออะไรวะ??
มันก็ตัวอักษร มันคืออะไรก็ได้ทั้งอักษรและตัวเลขมาเรียงลำดับกันเท่านั้น
เช่น
1+1=11
1+2a=12a
o+p+u=opu
ประมาณนี้ครับเข้าใจนะครับ(เหมือนผมจะตกเลขเลยอะ-*-)
เข้าเรื่องต่อแล้วกันนะครับ-*-

String
คือเหมือนกับเป็นแค่ค่าตัวอักษรธรรมดานั้นแต่มีลูกเล่นมากมายที่เกี่ยวกับ
String ไม่ใช่แค่
System.out.print() นะครับ-*-แต่
เท่านั้นที่เป็นการใช้ Stringการกำหนดให้ String เป็นตัวแปรประกาศง่ายๆ
โดย String ชื่อตัวแปร = "ข้อความที่ต้องการ"เช่น
String a = "fight"
วิธีนำตัวแปรมาใช้ก็ใช้ System.out.print(ตัวแปร);
ถ้าตามดังเงื่อนไขข้างบนจะได้ว่า
System.out.print(a);
Result fight
ข้อดีของการใช้ตัวแปรคือ ถ้ามีจำนวนข้อมูลเยอะๆที่ซ้ำๆกัน
มันจะอ้างอิงที่แหล่งเก็บข้อมูลแค่ตัวเดียวจึงมีผลทำให้ข้อมูล
มีความรวดเร็วมากขึ้นในการใช้งาน(เร็วกว่ารถsportปะอย่ากได้
Rx8หรือTTก็ได้ครับ ราคาประมาณ 3ล้านกว่าบาทเองชื้อให้ทีครับ)
การหาความยาวของ String
นั้นๆทำได้โดยต่อด้วย .length()
เข้าไปท้ายข้อความหรือตัวแปรเช่น
"fight.length();
หรือ
a.length();
ส่วนใหญ่จะใช้อยู่ในรูป
System.out.print();
จะได้ค่าออกมาคือ 5การหาตัวอักษร
โดยใช้ตำแหน่งหลักการจะคล้ายๆกับ Array
คือ 0 คือตัว แรก และ n-1
คือตัวสุดท้ายซึ่งใช้คำสั่ง .charAt(n-1)
โดย n คือลำดับของตัวอักษรที่
ต้องการรู้เช่น
"fight.charAt(1);
จะได้ว่า ตัวที่สองของ fight คือ i การหาตำแหน่งของตัวอักษรโดยใช้ตัวอักษร
โดยการหาตำแหน่งของตัวอักษรนี้ จะแสดงตำแหน่งที่ n-1 เหมือน
.charAt(n)
แต่จะแสดงแค่ตัวที่อยู่หน้าสุด้ท่านั้น โดยใช้คำสั่งนะครับ
.indexOf('a')
โดย a คือตัวอักษรเช่น
"fight".indexOf('l');
จะแสดงเลข 2 ขึ้นคือ l ตัวแรกอยู่ตำแหน่งที่ 3 นั่นเองแต่หากหาไม่พบ
โปรแกรมจะแสดงเลข -1 ออกมาแทนเช่น
"fight".indexOf('H');Result -1
เขาใจนะ
เพราะฉะนั้น
หากไม่ต้องการให้เริ่มที่ตัวแรก ให้กำหนดตำแหน่งที่ต้องการเริ่มหาโดย
.indexOf('a',n-1)
เช่น
"fight".indexOf('h',3);
ผลลัพธ์ที่ออกมาจะได้เท่ากับ 3
หากไม่ต้องการหาจากหน้าไปหลังยังมี
วิธีที่สามารถหาจากหลังไปหน้าโดย
lastIndexOf('a')
หรือ
lastIndexOf('a',n-1)
เช่น
"fight".lastIndexOf('l');
จะได้ค่าเท่ากับ 3ส่วนการตำแหน่งของกลุ่มข้อความ สามารถใช้
indexOf('abc') หรือ lastIndexOf('abc')
ได้เหมือนกัน เช่น
"fight igh".indexOf('el');
Result1"hello ell".lastIndexOf('igh');
Result7(การหานี้จะนับจากตัวแรกที่ใช่)
การเชื่อมต่อ Stringโดยส่วนมากเราจำรู้เมื่ออยู่ในเครื่องหมาย +
(เจอกับมันอีกแล้ว-*-)
เช่นa + b
เป็นต้น เมื่อแสดงออกมาจะได้ข้อความ a และ bเช่น
String a = "fight";
String b = "igh";
System.out.println(a + b);
จะได้ว่า fightigh เป็นต้นและสามารถนำมาบวกกันแล้วค่อยแสดงก็ได้ เช่น
a = a + b;System.out.println(a);
จะได้
fightigh
เหมือนกันและสามารถ + เข้าไปตรงๆ อีกได้เหมือนกัน(ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ปะ)
เช่น
a += b;
System.out.println(a);
Resultfightighเช่นกัน*
จากที่ผลออกมา จะสังเกตุได้ว่าค่า a ตอนเริ่มต้นจะหายไป(หาไมเจอ)
เป็นค่าตัวใหม่แทนที่ด้สยเหตุนี้ถ้าต้องการคงค่าตัวแปรเดิม
ควรใช้หลายตัวแปรแต่ก็มีวิธีที่ทำให้ตัวแปรไม่หายไป
จงจำเอาไว้ให้ดี
โดยการใช้ .concat(x)เช่น
System.out.println(a.concat(b));
จะได้ fightighเหมือนกัน โดนสามารถใช้ตัวแปร a ตัวเดิมได้ด้วยหรือไม่ก็กำหนด
ตัวแปรใหม่โดยใช้ concat เหมือนกันเช่น
String d = a.concat(b);
System.out.println(d);
จะได้ข้อความ fightighเหมือนกันและได้ d เป็นตัวแปรเพิ่มขึ้นอีกตัวด้วย
การแสดงกลุ่มคำโดยใช้ตำแหน่งโดยกำหนดตัวเริ่มต้นแล้ว
ใช้ฟังก์ชัน x.substring(n-1)เข้าช่วยโดยการแสดงผล จะแสดงในรูปแบบ
String ที่เป็นกลุ่มข้อความเช่น(วันนี้ยาวหน่อยนะครับครังสุดถ้าด้วยเอาให้เต็มที่)
String a = "Hello you. How are you to day?";
System.out.println(a.substring(11));
จะแสดง How are you today?
ออกมา (ตำแหน่งที่ 12 ตรงกับ H พอดี)
แต่ถ้าต้องการกำหนดจุดสุดท้ายด้วย

จบแล้ววววววว

ความรู้พวกstringนี้สามารถนำไปเขียนprograme search , programe Dictionary
etc.
ขอขอบคุณทุกท่าน ณ ที่นี้ด้วยครับที่ติดตามผลงานของผมนะครับ ตัวอย่างหลายตัวอย่างนี้ผมเอา
มาจากbloger ของ be31ครับถ้าไม่เข้าใจไปเปิดได้ครับเพราะผมเอาของเขามาเป็นแนวทางครับ

วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2550

Week7

Week นี้จะเป็นการใช้ Array 1มิติ,Array2มิติ,Loop
เราจะสามารถเก็บข้อมูล และ นำมาใช้งายขึ้นครับ

Array 1 มิติ

การประกาศใช้ Array มี 3 ส่วนในการประกาศใช้ตัวแปร
โดยส่วนแรกคือ การประกาศชนิดของข้อมูล โดยวิธีการประกาศ
คือชนิดของข้อมูล ตัวแปร [];
เช่น

int x[];
เป็นการประกาศตัวแปรที่เป็นจำนวนเต็มตามขั้นตอนส่วนที่ 2
คือการประกำหนดขอบเขคของ Array

โดยตัวแปร = new ชนิดของข้อมูล [n];

n = จำนวนของความกว้างของ Array

เช่นx = new int [5];

จะได้ว่า Array ที่มีตัวแปร 5 ตัวแปรส่วนสุดท้ายคือการกำหนดค่าตัวแปร
โดยตัวแปร [n] = ค่าของเลข;

โดยที่ค่าของตัวแปรจะเริ่มจาก 0

เช่น

x [0] = 1;
x [1] = 2;
x [2] = 3;
x [3] = 4;
x [4] = 5;

จะได้ตัวแปร

x [0] = 1;
x [1] = 2;
x [2] = 3;
x [3] = 4;
x [4] = 5;

คุณคงเข้าใจหลักการง่ายนี้นะครับ ต่อไปนี้จะเป็นแบบ ยากขึ้นครับ

Array 2 มิติการทำ Array แบบ 2 มิตินั้น จะคล้ายๆกับ แบบ 1 มิติ
แค่เพิ่มความซ้อนมิติอีกชั้นโดย

style="color:#ff0000;">ชนิดของข้อมูล ตัวแปร[][];

เป็นการประกาศตัวแปรตัวแปร = new ชนิดของข้อมูล [n][m];
เป็นการกำหนดความกว้างของ Arrayตัวแปร [n][m] = ค่าของเลข;
เป็นการใส่ค่าให้ตัวแปร

Loop

คือการทำงานคำสั่งซ้ำๆของข้อมูลสูตร
ที่ไปของมันคือfor( i = n; i <>n = จุดเริ่มต้นของข้อมูล
m = จุดสุดท้ายของข้อมูลi
++ คือการเพิ่มลำดับข้อมูลทีละ 1i
-- คือการลดลำดับข้อมูลทีละ 1

เพิมเติมครับ!!!!
ถ้าอย่ากเก่ง Java เก่งเลข โดยเฉพาะ Matrix Revolutions !!!
ไม่ใช่ 555+ Matrix ครับ ถ้าสังเกตุให้ดีครับ Array มันมีวิธีคิด
เป็น Matrix ครับ แต่ที่เรานำมาอธิบายนั้น มีแค่ 2มิติ แต่ถ้ามากกว่านั้น
เช่น 3มิติ เราต้องใช้ Matrix ครับ โดยเรา สามารถเรียนรู้
จาก หนังสือเลข ม.ปลายครับ

WeeK6

จากการเรียนของครั้งที่แล้วที่น่าปวดหัวนั้น คือการใช้ if กับ else เปล่าๆนั้น สามารถกำหนดเงื่อนไข
ได้แค่ใช่กับไม่เท่านั้น หรือพูดง่ายๆคือโปรแกรมจะทำเงื่อนไขได้แค่ 2 แบบเท่านั้นเอง-*-
แต่ถ้าเราต้องการเงื่อนไขที่ละเอียดมากขึ้น(เจ๋งขึ้น) เราสามารถใช้ else if แทน else
ธรรมดาซึ่งสามารถใช้ else if กี่ครั้งก็ได้ซึ่งตรงกันข้ามกับ else ธรรมดา
เช่น

if(x==100){ System.out.println("x = " + x);

System.out.println("Condition = true");

}

else if(x<100){system.out.println("your>100){System.out.println("Your number is higher than tnumber!!!");

System.out.println("Please try again.");

}

ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของการบอกเงื่อนไขที่ละเอียดโดยถ้าตัวเลขนั้นมากกว่า
โปรแกรมจะทำงานว่า
Your number is higher than that number!!!Please try again.
แต่ถ้าน้อยกว่าจำทำงาน
Your number is lower than that number!!!Please try again.
แทนโดยสรุปแล้ว การใช้ else if มีการเขียนชุดคำสั่งดังนี้

if(a){ชุดคำสั่ง1;
}

else if(b){ชุดคำสั่ง2;
}

else if(c){ชุดคำสั่ง3;
}

...

ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ปะ

ในอีกทางหนึ่ง หากโปรแกรมที่เป็นตัวเลขมากๆแล้วการใช้ if, else หรือ else if
จะทำให้ข้อมูลการเขียนนั้นยาวมากจนอาจทำให้โปรแกรมทำงานมากจนเกินความจำ
เป็นก็ได้เช่นการคิดคะแนนเกรด หรือการวัดรายได้ของประชากรเป็นต้นซึ่งตัวเลขนั้นมี
มากมายเราจึงต้องใช้ switch - case ซึ่งโปรแกรมที่ทำงานคล้ายกับ if else
แต่สามารถทำงานได้หลากหลายกว่าและง่ายกว่า โดยสามารถใช้กับข้อมูลที่เป็นจำนวนเต็มก็ได้
หรือเป็นอักขระก็ได้โดยจะแบ่งเป็นกรณีๆ
เช่น

switch(x/10)
{
case 0:;
case 1:;
case 2:;
case 3:;
case 4:System.out.println("You're failed!!โงจัง");break;
case 5:System.out.println("You're grade is 1.");break
;case 6:System.out.println("You're grade is 2.");break
;case 7:System.out.println("You're grade is 3.");break
;case 8:
;case 9:
;case 10:System.out.println("You're grade is 4. Congratulations!!เก่งจังนะ");break;
}

ในกรณีนี้เป็นการใส่คะแนนเพื่อหาเกรด โดย
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 80-100 จะได้เกรด 4
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 70-79 จะได้เกรด 3
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ69-60 จะได้เกรด 2
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 59-50 จะได้เกรด 1
และน้อยกว่านั้นคือตก*ข้อสังเกตุ 1 จากเงื่อนไข switch

จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นตัวเลขจำนวนเต็มที่หารด้วย 10 แล้วจะเหลือเศษอยู่ในบางกรณี
ซึ่งโปรแกรมจะปัดเศษลงอัตโนมัติ เพื่อให้โปรแกรมทำงาน
2. ต้องมี break ตามท้ายด้วยเนื่องจากหากไม่มี โปรแกรมจะทำเงื่อนไขอื่นๆด้วย
เช่น
หาก ได้คะแนน 62 โปรแกรมจะ

บอกว่า คุณได้เกรด 4, 3 และ 2 ซึ่งมันตรงข้ามกับความเป็นจริง

วันนี้มีอะไรที่ต้องเรียนรู้มากมายนัก จงเรียนรู้เพื่ออนาคตที่สดใส 555+

วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2550

Week3

การเรียนJavaในWeekนี้ เป็นการเรียนเกี่ยวกับ ขนาด
และ การกำหนดตัวแปร โดยขนาดนั้นมีสองประเภทคือ
ขนาดใหญ่ และ ขนาดเล็ก คือ

ขนาดใหญ่ คือพวก Integer, Long Etc.

ขนาดเล็ก คือพวก Byte, Short Etc.

ซึ่งการใช้งานของตัวแปรคือ ถ้าตัวแปรมีขนาดเท่ากันทำอะไรกัน
จะไม่มีการเปลี่ยนชนิดข้อมูลชนิดนั้น
เช่น

1/3 = 0

เนื่องจากทั้ง 1 และ 2 คือจำนวนเต็ม เพราะฉะนั้นถ้าเอาไป / 0
ก็ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดิมคือ จำนวนเต็ม
แต่ถ้าข้อมูล 2 ชนิดมีขนาดที่แตกต่างกันทำอะไรกัน
โปรแกรมจะแปลขนาดข้อมูลที่เล็กกว่าไปสู่ขนาดที่ใหญ่กว่าเสมอ
เช่น

2.0/4= 0.5

จะไม่เหมือนตัวอย่างแรกเนื่องจาก ตัวอย่างแรกเป็นจำนวนเต็มทั้งหมด
แต่ ตัวอย่างนี้มีการแปลงข้อมูลซึ่งทำให้หาข้อมูลได้กว้างขึ้น
ในความเป็นจริงแล้ว เราไม่จำเป็นกำหนดเขตของข้อมูลให้กว้างที่สุดเสมอไป
เนื่องจากจะทำให้เราเกิดสับสนแล้ว ยังทำให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลช้าลงอีกด้วย
เป็นการทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานหนักโดยใช่เหตุ
(เหมืน ขี่ตั๊กแตนจับช้าง ไม่ชาย -*- ขี่ช้างจับตั๊กแตนตางหาก555+)
การกำหนดตัวแปร
การประกาษตัวแปรนั้น เป็นการใช้ประโยชน์กับเมื่อมีจำนวนข้อมูลเยอะๆ
แล้วเอามาประมวลผลร่วมกัน ในทางอ้อม เหมือนเป็น
การป้องกันให้ผู้ใช้สับสนทางหนึ่ง
ซึ่งการประกาศตัวแปรของโปรแกรม java นี้
เป็นการประกาศใช้ Paramitter โดยใช้ array
โดยการประกาศตัวแปรหลักๆคือ

System.out.println(args[n])

โดย n คือจำนวนเต็ม (เริ่มจาก 0)
ซึ่งหลังการใช้ตัวแปรทั่วไปจะอยู่ในรูปของ String เสมอ
ถ้าอยากให้ตัวแปรนี้เปลี่ยนเป็นข้อมูลอื่นๆ
ให้ใส่ชนิดของข้อมูลนั้นๆ หน้าตัวแปรที่ประกาศ
เช่น
เมื่ออยากให้ตัวแปรเป็นจำนวนเต็ม

Integer.parseInt(args[n])

เป็นต้น
เมื่ออยากให้จำนวนเต็มที่เป็นตัวแปรบวกกันก็สามารถทำได้โดย

(Integer.parseInt(args[n]) + Integer.parseInt(args[n]))

แต่เวลาใช้ตัวแปรนั้น เราไม่สามารถ run ได้ด้วยโปรแกรม jcreator LE
ต้องใช้โปรแกรม Command Prompt ในการ run
เนื่องจากเราไม่สามารถกำหนดค่าของตัวแปรลงได้ในโปรแกรม
ในทางตรงกันข้าม ในCommand Prompt สามารถกำหนดได้
จากที่เห็นจากภาพคือโปรแกรมสามารถ Compile ได้ตามปกติ

แต่เมื่อ Run แล้วจะ Error เนื่องจากไม่มีค่าของตัวแปร
การใส่ค่าของตัวแปรใน Command Prompt
ทำได้ไม่ยากโดย Run ชื่อไฟล์แล้วตามด้วยตัวแปรนั้นๆ
แต่ต้องเว้นวรรค
เพื่อแบ่งตัวแปร
ตัวอย่างเช่น

java Project "Hello" "True" "AAA"

ซึ่งเมื่อใช้ตัวแปรที่เป็นเลขแล้ว เมื่อข้อมูลมีเยอะกว่าตัวแปร
โปรแกรมจะใช้เฉพาะข้อมูลชั้นที่มีตัวแปรอยู่เท่านั้น
เช่นถ้าเราประกาษแค่ตัวแปรเดียว แต่เรา Run โปรเจกโดย

java Project 1 2 3

โปรแกรมจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 1 เท่านั้น

เมื่อ Run ใน Command Prompt โดยใส่ตัวแปรดังรูปจะได้ผลลัพธ์ออกมา
ผมหวังว่าคุณจะเข้าใจนะครับ

Week4

การเรียนJavaในweekนี้

เป็นการกรอกข้อมูลโดยตรงนา

โดยจำลอง keyboard (ที่พวกนายพิมพ์อยู่นีไง)
อยู่ใน Java เป็นการกรอกข้อมูลโดยตรง
ถึงแม้ว่าเราจะสามารถสร้างโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้ดีเพียงได้
แต่ถ้าผู้ใช้ไม่รู้วิธีใช้ มันก็แทบจะไม่มีความหมายอยู่ดี
สัปดาห์นี้จึงได้เรียนเกี่ยวกับการให้ข้อมูลผ่านคีย์บอร์ดขณะ Run โปรแกรมได้
ซึ่งก่อนอื่นเราก็ต้องอาศัยฟังชันนึงในการอ้างอิงก่อนเสมอ
และต้องใส่บันทัดแรกสุดเสมอคือ
Import java .util.*;
ซึ่งตัวนี้จะอ้างอิงที่อยู่ของฟังก์ชั่น Scanner นั้นเอง
และการใช้ตัว Scanner ก็เป็นการประกาษใช้ตัวแปรอย่างหนึ่ง
ซึ่งตัวแปรนี้จะเป็นตัวแปรรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
โดยเราต้องกำหนดตัวอักษรตัวหนึ่งเพื่อนให้มันเป็นตัวแปรให้เรา
เช่น เมื่อเราอยากให้ x เป็นตัวแปรก็ให้เขียนดังนี้

Scanner x = new Scanner(System.in);

เท่านี้ x ก็เป็นตัวแปรของเรา ซึ่งตัวแปร 1 ตัวแปรสามารถใช้ได้หลายสมการมาก
และในการกำหนดตัวแปรให้ใช้กับเลขทศนิยมได้นั้น
ก็สามารถทำได้ง่ายๆโดยเอาข้อมูลทศนิยมขึ้นแล้วตามด้วยตัวแปรที่อยากให้มันเป็น
เช่น เราอยากให้ a เป็นตัวแปรเลขทศนิยม ก็ทำได้โดย

float a;

เราก็สามารถเอาตัว a ไปแทนลงในสมการต่างๆเพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
ใส่เลขด้วยตัวเองได้
และในการให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลนั้น เราก็ต้องใส่ฟังก์ชั่นอีกฟังก์ชั่นนึงคือ

a = x.nextFloat();

เพื่อเป็นการบอกเปิดการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเมื่อ Run โปรแกรมแล้ว
แล้วชนิดข้อมูลที่สามารถ
Run ต่อได้และไม่ Error นั้นต้องเป็นค่าทศนิยมเท่านั้นนาอย่าเลิม
เพราะความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยจะทำให้ท่านถึงแก่ความตาย

วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Week5

การเรียนในWeekนี้ จะเป็นการเรียนดารใช้ ประโยคเงื่อนไข
จะเป็นการกำหนดการกระทำต่างโดยใช้พวก
>, <, ==, >=, <=, !=
เป็นตัวกำหนด ประโยคเงื่อนไข ในความเป็นจริงทั่วไปแล้ว
เมื่อมีสิ่งเร้าอะไรสักอย่าง จึงทำให้เราต้องเลือกเดินไป
ทางใดทางหนึ่งเช่น
คะแนนของคณะวิศวะสูงมากๆ (สมมุติว่า 90 I พวก เทพมาจุติ )
เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เราไม่เลือกอาชีนี้ก็ได้
ในตรงกันข้ามถ้าคณะวิทยกีฬาคะแนนแค่ 30
(ตำติดดินเลยวะ-*-) ก็มีหลายต่อหลายคนเลือกอาชีพ
นี้พอสมควรเลย เครื่องหมายในภาษา Javaเครื่องหมายที่
ใช้กับประโยคเงื่อนไขใน Java ทั้งหมด มี
< น้อยกว่า
> มากกว่า
== เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
เช่นเดียวกัน
กับภาษาคอมพิวเตอร์ก็มีคำสั่งในการตัดสินใจเหมือนมนุษย์โดย
คำสั่งของคอมพิวเตอร์นั้นจะใช้คำสั่ง if แล้วตามด้วยข้อมูล
เช่น
if (a)
System.out.print("555+");
ก็หมายความว่าถ้าข้อมูล a เป็นจริง จาขึ้นคำว่า555+ เป็นต้น
เมื่อเราอยากให้โปรแกรม Run ได้หลายคำสั่ง ให้เราใส่วงเล็บ

ปีกกา({})หลังสิ้นสุดคำสั่ง if อีกที
เช่น
if (a) {System.out.println("x");
System.out.println("y");
System.out.println("z");
}
เป็นต้น

โปรแกรมก็จะ Run คำสั่ง x y และ z
ในทางตรงข้าม เมื่อมันไม่ใช่คำสั่ง a
โปรแกรมจะไม่ Run อะไรเลย
ยกเว้นว่าเราจะเพิ่มคำสั่ง else ไปอีกตัว
จะทำให้เพิ่มคำสั่งที่ไม่เป็นจริงขึ้นมาอีกตัวเช่น
if (a) {
System.out.println("x");

System.out.println("y");
System.out.println("z");}
else
System.out.println("Error code in system win900");
เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว
เมื่อเรา Run โปรแกรมด้วยคำสั่ง a แล้ว โปรแกรมจำพิมพ์ x y z ขึ้น
แต่ถ้าไม่ใช่คำสั่ง a เครื่องแสดง Error code in system win900 ขึ้นมาทันที
เขาใจนา-*-

วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550

สรุป week2

วันนี้ได้ความรู้เกียวกัยการเขียน java ใน note pad และ Jcrator โดยใช้ คอมมาน เป็นตัวประกอบในการเรียนรู้และได้เขียน อย่างง่ายคือ
public class first{ public static void main(String [] args){ System.out.println("patchara"); }
}
และ
public class second{ public static void main(String [] args){ System.out.println("patchara"); System.out.println("6/4"); System.out.println("086-777-6551");
}
}

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2550

หวัดดี

ไม่มีอะไรมากมายที่สำคัญเกียวกับเราที่รู้จักกันกลางท้องทุ่งที่สวยงาม ท้องฟ้าที่สวยงาม !!!!!!!!!!!!!!!